สิทธิ มนุษยชน หมายถึง สิทธิขั้นพื้นฐานที่พึงมีโดยเสมอภาคกัน
เพื่อการดำรงชีวิตได้อย่าง
มีศักดิ์ศรีมีโอกาสเท่าเทียมกันในการเรียนรู้และพัฒนาศักยภาพของตนเองอย่าง
เต็มที่และสร้างสรรค์
ดังนั้นจึงเป็นสิทธิที่ได้มาพร้อมกับการเกิดและเป็นสิทธิติดตัวบุคคลนั้น
ตลอดไปไม่ว่าจะอยู่ในเขตปกครองใด หรือเชื้อชาติ ภาษา ศาสนาใด ๆ อ่านเพิ่มเติม
วันอังคารที่ 13 มกราคม พ.ศ. 2558
บทที่ 6 กฎหมาย
กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับตนเอง ครอบครัว
ชุมชน
ประเทศชาติและสังคมโลก
สาระการเรียนรู้
1. ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับกฎหมาย
2. กฎหมายแพ่งที่เกี่ยวข้องกับตนเองและครอบครัว อ่านเพิ่มเติม
บทที่ 5 การปกครองระบอบประชาธิปไตย
สังคมทุกสังคมจะเจริญก้าวหน้าเป็นปึกแผ่นได้
ย่อมต้องมีระเบียบวินัยและผู้นำของสังคมเป็นหลักในการปกครอง
ผู้นำของสังคมระดับประเทศโดยเฉพาะระบอบประชาธิปไตยส่วนใหญ่จะอยู่ในรูปแบบของประธานาธิบดีหรือพระมหากษัตริย์
สำหรับการปกครองระบอบประชาธิปไตยอัน อ่านเพิ่มเติม
บทที่ 4 พลเมืองดี
หน้าที่ของพลเมืองดีของสังคม
การปฏิบัติตนเป็นพลเมืองดีตามหลักธรรม ประกอบด้วย จริยธรรม คุณธรรม จริยธรรม อ่านเพิ่มเติม
การปฏิบัติตนเป็นพลเมืองดีตามหลักธรรม ประกอบด้วย จริยธรรม คุณธรรม จริยธรรม อ่านเพิ่มเติม
บทที่ 3 วัฒนธรรม
วัฒนธรรม หมายถึง
แบบแผนการดำเนินชีวิตของมนุษย์ที่มนุษย์สร้างขึ้นในแต่ละสังคม
ซึ่งแต่ละสังคมจะต้องมีวัฒนธรรมที่แตกต่างกันออกไป
บทที่ 2 การเปลี่ยนแปลงเเละการพัฒนาการทางสังคม
สังคมมนุษย์มีลักษณะเช่นเดียวกับปรากฏการณ์ธรรมชาติต่าง ๆ คือ
มีการเปลี่ยนแปลง บางสังคมเปลี่ยนแปลงช้าขณะที่บางสังคมเปลี่ยนเร็ว
ในอดีตสังคมส่วนใหญ่เปลี่ยนแปลงอย่างช้า ๆ
จนเกือบไม่มีอะไรเปลี่ยนอย่างสำคัญในรอบร้อยปี แต่ในระยะประมาณร้อยปีที่แ อ่านเพิ่มเติม
บทที่ 1 สังคม
การจัดระเบียบทางสังคม หมายถึง วิธีการที่คนในสังคมกำหนดขึ้นมาเพื่อให้คนที่มาอยู่รวมกันประพฤติปฎิบัติตาม
รวมทั้งทำให้สังคมมีความมั่นคงและสามารถดำรงชีวิตอยู่ได้อย่างเป็นระเบียบเรียบร้อย
หรืออาจกล่าวได้ว่า
การจัดระเบียบสังคมได้รับการสร้างขึ้นเพื่อใช้เป็นแนวทางให้สมาชิกของสังคมได้ยึดถือ อ่านเพิ่มเติม
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)